Collection Title: | SIU RS-T | Title : | การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ | Original title : | A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method | Material Type: | printed text | Authors: | พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2017 | Pagination: | ix, 47 น. | Layout: | ภาพประกอบ, ตาราง | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 | General note: | SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด [LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิต
| Keywords: | การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสีย | Abstract: | อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสี | Curricular : | BSMT/MSMT | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 |
SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ = A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method [printed text] / พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม. 500.00 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด [LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิต
| Keywords: | การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสีย | Abstract: | อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสี | Curricular : | BSMT/MSMT | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 |
|