[article] Title : | รูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐม | Original title : | Health Care Service Model for Elderly by Community Participation, Wangtagoo Subdistrict, Nakhon Pathom Province | Material Type: | printed text | Authors: | มาลีวัล เลิศสาครศิริ, Author ; กุหลาบ รัตนสัจธรรม, Author ; พิศมัย เสรีขจรกิจเจริญ, Author ; ชัยนันท์ เหมือนเพ็ชร์, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.28-41 | Languages : | Thai (tha) Original Language : Thai (tha) | in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.28-41Keywords: | รูปแบบการจัดบริการ.รูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพ.ผู้สูงอายุ.การมีส่วนร่วมของชุมชน | Abstract: | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม (participatory action research)
มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนารูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้สูงอายุและญาติ จำนวน
30 คน ทีมสุขภาพและตัวแทนจากองค์กรในชุมชน จำนวน 15 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แนวคำถามการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มและการประชุมแบบมีส่วนร่วม 2) แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อรูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุฯ พัฒนารูปแบบรูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ระหว่างเดือนตุลาคม-กันยายน พ.ศ. 2557
ผลการวิจัย พบว่า
1. ปัญหาการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ คือ ขาดความรู้ในการรับประทานยา มีความเชื่อ
ในการใช้ยาไม่ถูกต้อง ญาติผู้ดูแลขาดความรู้ในการประกอบอาหารให้กับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุ
ไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้สะดวกเนื่องจากไม่มีญาติพาไป
2. ความต้องการได้รับการบริการสุขภาพของผู้สูงอายุ คือ การมีบริการการตรวจรักษาที่บ้าน
การมีผู้ช่วยเหลือพาเข้าห้องน้ำ พาเดินไปตรวจที่โรงพยาบาล การได้รับความรู้เรื่องผลข้างเคียง
ของยา การออกกำลังกาย การให้มีแพทย์ประจำมารักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
และการมีองค์กรบริหารส่วนตำบลวังตะกูมาเยี่ยมผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพาผู้อื่นและ
ให้มีพระมาโปรดที่บ้าน
3. รูปแบบการจัดบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลวังตะกู
จังหวัดนครปฐมประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้ 1) การสร้างการเข้าถึงบริการโดยการจัดทำ
สติกเกอร์เบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญ แจกให้กับผู้สูงอายุ 2) การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุโุดยการมีส่วนร่วมขององค์ในชุมชน 3) ให้ความร้กกับผ้สูงอายุในเรื่องการใช้ยา การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร และ
4) การดูแลผู้สูงอายุในขณะมารับการรักษาที่โรงพยาบาล โดยชมรมผู้สูงอายุได้จัดจิตอาสามาช่วยดูแลผู้สูงอายุระหว่างมารับการรักษาที่โรงพยาบาล ผลการประเมิน พบว่า ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดบริการ | Link for e-copy: | http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27057 |
[article] รูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐม = Health Care Service Model for Elderly by Community Participation, Wangtagoo Subdistrict, Nakhon Pathom Province [printed text] / มาลีวัล เลิศสาครศิริ, Author ; กุหลาบ รัตนสัจธรรม, Author ; พิศมัย เสรีขจรกิจเจริญ, Author ; ชัยนันท์ เหมือนเพ็ชร์, Author . - 2017 . - p.28-41. Languages : Thai ( tha) Original Language : Thai ( tha) in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.28-41Keywords: | รูปแบบการจัดบริการ.รูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพ.ผู้สูงอายุ.การมีส่วนร่วมของชุมชน | Abstract: | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม (participatory action research)
มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนารูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนตำบลวังตะกู จังหวัดนครปฐม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้สูงอายุและญาติ จำนวน
30 คน ทีมสุขภาพและตัวแทนจากองค์กรในชุมชน จำนวน 15 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แนวคำถามการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่มและการประชุมแบบมีส่วนร่วม 2) แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อรูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุฯ พัฒนารูปแบบรูปแบบการจัดบริการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ระหว่างเดือนตุลาคม-กันยายน พ.ศ. 2557
ผลการวิจัย พบว่า
1. ปัญหาการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ คือ ขาดความรู้ในการรับประทานยา มีความเชื่อ
ในการใช้ยาไม่ถูกต้อง ญาติผู้ดูแลขาดความรู้ในการประกอบอาหารให้กับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุ
ไม่สามารถเข้าถึงบริการทางการแพทย์ได้สะดวกเนื่องจากไม่มีญาติพาไป
2. ความต้องการได้รับการบริการสุขภาพของผู้สูงอายุ คือ การมีบริการการตรวจรักษาที่บ้าน
การมีผู้ช่วยเหลือพาเข้าห้องน้ำ พาเดินไปตรวจที่โรงพยาบาล การได้รับความรู้เรื่องผลข้างเคียง
ของยา การออกกำลังกาย การให้มีแพทย์ประจำมารักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
และการมีองค์กรบริหารส่วนตำบลวังตะกูมาเยี่ยมผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพาผู้อื่นและ
ให้มีพระมาโปรดที่บ้าน
3. รูปแบบการจัดบริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน ตำบลวังตะกู
จังหวัดนครปฐมประกอบด้วยกิจกรรม ดังนี้ 1) การสร้างการเข้าถึงบริการโดยการจัดทำ
สติกเกอร์เบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญ แจกให้กับผู้สูงอายุ 2) การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุโุดยการมีส่วนร่วมขององค์ในชุมชน 3) ให้ความร้กกับผ้สูงอายุในเรื่องการใช้ยา การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร และ
4) การดูแลผู้สูงอายุในขณะมารับการรักษาที่โรงพยาบาล โดยชมรมผู้สูงอายุได้จัดจิตอาสามาช่วยดูแลผู้สูงอายุระหว่างมารับการรักษาที่โรงพยาบาล ผลการประเมิน พบว่า ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดบริการ | Link for e-copy: | http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27057 |
|