[article] Title : | ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง | Original title : | Selected factors related to depression of the elder persons with depressive disorder in the central region | Material Type: | printed text | Authors: | มุจรินทร์ พุทธเมตตา, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.69-82 | Languages : | Thai (tha) Original Language : Thai (tha) | in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.69-82Keywords: | ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.ผู้สุงอายุ.โรคเรื้อรัง.ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า. | Abstract: | ัเพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า และศึกษาึวามสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก้ เพศ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความสามารถในการรู้คิด การดื้มแอลกอฮอล์ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางจิตใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ ความเชื่อทางศาสานากับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า
วิธีการศึกษา คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าที่มีอายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไป ที่มารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 176 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบทดสอบสมรรถภาพสมอง แบบประเมินเหตุการณ์ความเครียด แบบประเมินความรู้สึกที่มีคุณค่า แบบประเมินความเข้มอข็ง แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความสามารถในหน้าที และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุุ
ผลการศึกษา มีดังนี้
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ส่วนใหญ่พบ อยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.7 และระดับรุนแแรง ร้อยละ 3.4
2. เพศ มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .242, p<-01)
3. การดื่มแอลกอฮอล์ และเหตุการณ์ความเครียดในชีวิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .238,<.01 และ r=.435, p,.01)
4. ความสามารถในการรู้คิด ความรู้สึิกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ และความเชื่อทางศาสนา มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb=.181,p<.05,r=.318,p< .01,r=.320,p<.01 r=331,p<.01, r=.362, p,.01 และ rpb=.179, p,.05 ตามลำดับ)
5. การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26951 |
[article] ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง = Selected factors related to depression of the elder persons with depressive disorder in the central region [printed text] / มุจรินทร์ พุทธเมตตา, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author . - 2017 . - p.69-82. Languages : Thai ( tha) Original Language : Thai ( tha) in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.69-82Keywords: | ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.ผู้สุงอายุ.โรคเรื้อรัง.ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า. | Abstract: | ัเพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า และศึกษาึวามสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก้ เพศ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความสามารถในการรู้คิด การดื้มแอลกอฮอล์ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางจิตใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ ความเชื่อทางศาสานากับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า
วิธีการศึกษา คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าที่มีอายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไป ที่มารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 176 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบทดสอบสมรรถภาพสมอง แบบประเมินเหตุการณ์ความเครียด แบบประเมินความรู้สึกที่มีคุณค่า แบบประเมินความเข้มอข็ง แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความสามารถในหน้าที และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุุ
ผลการศึกษา มีดังนี้
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ส่วนใหญ่พบ อยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.7 และระดับรุนแแรง ร้อยละ 3.4
2. เพศ มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .242, p<-01)
3. การดื่มแอลกอฮอล์ และเหตุการณ์ความเครียดในชีวิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .238,<.01 และ r=.435, p,.01)
4. ความสามารถในการรู้คิด ความรู้สึิกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ และความเชื่อทางศาสนา มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb=.181,p<.05,r=.318,p< .01,r=.320,p<.01 r=331,p<.01, r=.362, p,.01 และ rpb=.179, p,.05 ตามลำดับ)
5. การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26951 |
| |