[article] ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลเพื่อป้องกันท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด = Effect of PMK unplanned extubation prevention program on extubation rate in medical wards Phramongkutklao hospital : โดยไม่ได้วางแผนต่ออัตราการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า [printed text] /
วิภารัตน์ นาวารัตน์, Author ;
พนมพร พฤทธิพงศ์พันธุ์, Author . - 2017 . - p.167-175.
Languages : Thai (
tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.167-175Keywords: | แนวปฏิบัติการพยาบาล.การเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจโดยไม่ได้วางแผน. |
Abstract: | เป็นการศึกษาเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาอัตราการเกิดท่อช่วยหายใจเลื่อนหลุด โดยไม่ได้วางแผนภายหลังการใช้ PMK: Unplanned extubation prevention program โดยแนวปฏิบัติประกอบด้วย 2 หมวด 1 ประเมินความเสี่ยงการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจ และ 2 การพยาบาลเพื่อป้องกัน UF ประกอบด้วย 1) การให้ข้อมูล 2) การสื่อสาร 3) การยึดตรึงท่อช่วยหายใจ และ 4)การผูกยึดร่างกาย คณะผู้วิจัยจัดทำโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแก่พยาบาลวิชาชีพ และนำแนวปฏิบัติไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 205 คน (1 มีนาคม ถึง 30 กันยายน 2558)
ผลการวิจัย พบว่า การประเมินความเสี่ยงการเลื่อนหลุดของท่อช่วยหายใจปฏิบัติได้ร้อยละ 98.5 การให้ข้อมูลปฏิบัติได้ร้อยละ 96.3 การสื่อสารปฏิบัติได้ร้อยละ 88.7 การยึดตรึงท่อช่วยหายใจปฏิบัติได้ร้อยละ 89.2 และการผูกยึดติดปฏิบัติได้ร้อยละ 66.6 เกิด UE จำนวน 8 ราย คิดเป็น 1.43 ครั้งต่อ 1000 วัน ใส่เครื่องช่วยหายใจ ดังนั้นการนำ PMK: Unplanned extubation prevention program มาใช้ในการดูแลบุคลากรทางพยาบาลต้องมีความตระหนัก เคร่งครัดในการป้องกัน จึงจะทำให้การดูแลผู้ป่วยใส่ท่อช่วยหายใจได้มาตรฐานและเกิดผลลัพธ์ที่ดี |
Link for e-copy: | www.nurseasct.or.th |
Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26752 |