Collection Title: | SIU IS-T | Title : | การสื่อสารโน้มน้าวใจเพื่อชักชวนนักลงทุน กรณีศึกษาการพัฒนาภาพยนตร์ Visual Effect (VFX) | Original title : | Persuasive Communication towards Investors: Case Study of the Development of Visual Effect (VFX) Movies | Material Type: | printed text | Authors: | พรรษวุฒิ เปาอินทร์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; สุขสวัสดิ์ ณัฐวุฒิสิทธิ์, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2017 | Pagination: | ix, 99 น. | Layout: | ภาพประกอบ, ตาราง | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 | General note: | SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]นักลงทุน -- ไทย -- การตัดสินใจ [LCSH]ภาพยนตร์ -- การตลาด [LCSH]ภาพยนตร์ไทย -- การพัฒนา -- สถาบัน
| Keywords: | เทคโนโลยีทันสมัย,
นักลงทุน,
ทฤษฎีการสื่อสารโน้มน้าวใจ | Abstract: | ปัจจุบันเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทั่วโลกมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการผลิตภาพยนตร์ที่ให้ความสมจริงแล้ว การใช้เทคโนโลยี VFX มาช่วยการผลิตเพื่อลดระยะเวลาการถ่ายทำของบริษัทผลิตภาพยนตร์ สิ่งที่ทำให้เกิดการพัฒนานั่นคือเทคโนโลยีทันสมัยนั้นสามารถตอบสอบสนองจินตนาการของผู้กำกับ คนเขียนบท หรือผู้บริหารกองถ่ายทำภาพยนตร์ให้เห็นภาพ การเล่าเรื่อง และความสมจริงของภาพยนตร์เพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ดีในขอบเขตของการพัฒนาโลกทัศน์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของบริษัทที่ใช้เทคโนโลยี VFX จากทั่วโลกโดยเฉพาะฝั่งตะวันตกนั้นมีการอภิปรายเชิงลึก จนถึงการจัดหาบริบทในหัวข้อนี้
การค้นคว้าอิสระนี้ (IS) ความน่าสนใจอยู่ที่การพัฒนาแนวความคิดและกรอบแนวคิดเพื่อการลงทุนในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่จะนำเทคโนโลยี VFX เข้ามาใช้ ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์นั้นต้องมีบทบาทหรือส่วนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนที่ให้สัมภาษณ์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ประกอบด้วยผู้บริหารบริษัทภาพยนตร์ ผู้ผลิตภาพยนตร์ นักลงทุน และคนเขียนบท ซึ่งพวกเขาเหล่านั้นให้การยอมรับกับเทคโนโลยี VFX เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในการผลิตภาพยนตร์ที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่ดียิ่งขึ้นในวงการภาพยนตร์ไทย สามารถบอกกล่าวได้ว่านวัตกรรมของเทคโนโลยีทันสมัยนั้นมีความจำเป็นของคนในวงการภาพยนตร์ และทำให้นักลงทุนสามารถตัดสินใจลงทุนในสิ่งที่คนในวงการภาพยนตร์ต้องการ
งานค้นคว้าอิสระนี้เป็นรากฐานของทฤษฎีการสื่อสาร(a)การโน้มน้าวใจ(b)ความเป็นผู้นำ(c)การตัดสินใจ ประกอบกับทฤษฎีการสื่อสารของมาสโลว์ หรือที่เรียกกันว่าทฤษฎีลำดับความต้องการ ค้นพบว่าลักษณะนิสัยเฉพาะของผู้นำแต่ละประเภทนั้นมีรูปแบบของการตัดสินใจ อิทธิพลของกระบวนการโน้มน้าวใจ และกลวิธีความต้องการที่จะทำให้พวกเขาเหล่านั้นสนใจร่วมลงทุนในโครงการ สิ่งที่มากกว่านั้นคือความต้องการความมั่นคง ปลอดภัยในทุกด้าน (ความเหมาะสมของเทคโนโลยีทันสมัย การปรับตัวตามสภาวะของเหตุการณ์ การฝึกอบรมบุคลากรได้อย่างมีประสิทธิผลในการใช้เทคโนโลยี ความคุ้มค่าในการลงทุนเทคโนโลยีทันสมัย) สามารถสรุปได้ว่างานค้นคว้าอิสระเกี่ยวกับ VFX นี้เป็นการเตรียมการหนทางที่จะนำไปสู่การยอมรับในวงการอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยยกระดับไปสู่สากล อย่างไรก็ตามสิ่งที่เป็นอุปสรรคด้านความขาดแคลนของนโยบาย สิ่งกระตุ้นมาสนับสนุนบริษัทผลิตภาพยนตร์ที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ และความร่วมมือในการสนับสนุนของผู้ร่วมลงทุนนั้นมีไม่มากพอที่จะขับเคลื่อนอุตสาหกรรมตามที่กำหนด
| Curricular : | GE/MBA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26619 |
SIU IS-T. การสื่อสารโน้มน้าวใจเพื่อชักชวนนักลงทุน กรณีศึกษาการพัฒนาภาพยนตร์ Visual Effect (VFX) = Persuasive Communication towards Investors: Case Study of the Development of Visual Effect (VFX) Movies [printed text] / พรรษวุฒิ เปาอินทร์, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; สุขสวัสดิ์ ณัฐวุฒิสิทธิ์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม. 500.00 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-01
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]นักลงทุน -- ไทย -- การตัดสินใจ [LCSH]ภาพยนตร์ -- การตลาด [LCSH]ภาพยนตร์ไทย -- การพัฒนา -- สถาบัน
| Keywords: | เทคโนโลยีทันสมัย,
นักลงทุน,
ทฤษฎีการสื่อสารโน้มน้าวใจ | Abstract: | ปัจจุบันเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ทั่วโลกมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการผลิตภาพยนตร์ที่ให้ความสมจริงแล้ว การใช้เทคโนโลยี VFX มาช่วยการผลิตเพื่อลดระยะเวลาการถ่ายทำของบริษัทผลิตภาพยนตร์ สิ่งที่ทำให้เกิดการพัฒนานั่นคือเทคโนโลยีทันสมัยนั้นสามารถตอบสอบสนองจินตนาการของผู้กำกับ คนเขียนบท หรือผู้บริหารกองถ่ายทำภาพยนตร์ให้เห็นภาพ การเล่าเรื่อง และความสมจริงของภาพยนตร์เพื่อสร้างผลลัพธ์ที่ดีในขอบเขตของการพัฒนาโลกทัศน์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ประวัติศาสตร์และวิวัฒนาการของบริษัทที่ใช้เทคโนโลยี VFX จากทั่วโลกโดยเฉพาะฝั่งตะวันตกนั้นมีการอภิปรายเชิงลึก จนถึงการจัดหาบริบทในหัวข้อนี้
การค้นคว้าอิสระนี้ (IS) ความน่าสนใจอยู่ที่การพัฒนาแนวความคิดและกรอบแนวคิดเพื่อการลงทุนในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่จะนำเทคโนโลยี VFX เข้ามาใช้ ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ แบบสอบถามและการสัมภาษณ์นั้นต้องมีบทบาทหรือส่วนที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มคนที่ให้สัมภาษณ์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ประกอบด้วยผู้บริหารบริษัทภาพยนตร์ ผู้ผลิตภาพยนตร์ นักลงทุน และคนเขียนบท ซึ่งพวกเขาเหล่านั้นให้การยอมรับกับเทคโนโลยี VFX เป็นสิ่งที่สำคัญอย่างมากในการผลิตภาพยนตร์ที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาที่ดียิ่งขึ้นในวงการภาพยนตร์ไทย สามารถบอกกล่าวได้ว่านวัตกรรมของเทคโนโลยีทันสมัยนั้นมีความจำเป็นของคนในวงการภาพยนตร์ และทำให้นักลงทุนสามารถตัดสินใจลงทุนในสิ่งที่คนในวงการภาพยนตร์ต้องการ
งานค้นคว้าอิสระนี้เป็นรากฐานของทฤษฎีการสื่อสาร(a)การโน้มน้าวใจ(b)ความเป็นผู้นำ(c)การตัดสินใจ ประกอบกับทฤษฎีการสื่อสารของมาสโลว์ หรือที่เรียกกันว่าทฤษฎีลำดับความต้องการ ค้นพบว่าลักษณะนิสัยเฉพาะของผู้นำแต่ละประเภทนั้นมีรูปแบบของการตัดสินใจ อิทธิพลของกระบวนการโน้มน้าวใจ และกลวิธีความต้องการที่จะทำให้พวกเขาเหล่านั้นสนใจร่วมลงทุนในโครงการ สิ่งที่มากกว่านั้นคือความต้องการความมั่นคง ปลอดภัยในทุกด้าน (ความเหมาะสมของเทคโนโลยีทันสมัย การปรับตัวตามสภาวะของเหตุการณ์ การฝึกอบรมบุคลากรได้อย่างมีประสิทธิผลในการใช้เทคโนโลยี ความคุ้มค่าในการลงทุนเทคโนโลยีทันสมัย) สามารถสรุปได้ว่างานค้นคว้าอิสระเกี่ยวกับ VFX นี้เป็นการเตรียมการหนทางที่จะนำไปสู่การยอมรับในวงการอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยยกระดับไปสู่สากล อย่างไรก็ตามสิ่งที่เป็นอุปสรรคด้านความขาดแคลนของนโยบาย สิ่งกระตุ้นมาสนับสนุนบริษัทผลิตภาพยนตร์ที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ และความร่วมมือในการสนับสนุนของผู้ร่วมลงทุนนั้นมีไม่มากพอที่จะขับเคลื่อนอุตสาหกรรมตามที่กำหนด
| Curricular : | GE/MBA | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26619 |
|