From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ / ปรารถนา หมี้แสน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ : โรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ Original title : A comparison of human resourse management of nursing departments as perceived by professional nurses hospital participated and non particpated in hospital total quality management program Material Type: printed text Authors: ปรารถนา หมี้แสน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ก-ฌ, 135 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-334-553-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการ
[LCSH]บุคลากรโรงพยาบาล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การจัดการ.
ทรัพยากรมนุษย์.
การพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ป572 2542 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล
2. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 3. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลหลังจากเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพเป็นระยะเวลา 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี 4. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกับโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค มีค่าความเที่ยง .094 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่บงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิตทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ระบบงานอยู่ในระดับมาก การศึกษา ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และความสุขสมบรูณ์ และความพึงพอใจของพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพโดยรวมไม่แตกต่างกัน รายด้านระบบงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพระหว่างโรงพยาบาบที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกัลโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลโดยรสมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23328 การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ = A comparison of human resourse management of nursing departments as perceived by professional nurses hospital participated and non particpated in hospital total quality management program : โรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ [printed text] / ปรารถนา หมี้แสน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ก-ฌ, 135 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISBN : 978-974-334-553-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการ
[LCSH]บุคลากรโรงพยาบาล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การจัดการ.
ทรัพยากรมนุษย์.
การพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ป572 2542 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล
2. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 3. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลหลังจากเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพเป็นระยะเวลา 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี 4. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกับโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค มีค่าความเที่ยง .094 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่บงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิตทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ระบบงานอยู่ในระดับมาก การศึกษา ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และความสุขสมบรูณ์ และความพึงพอใจของพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพโดยรวมไม่แตกต่างกัน รายด้านระบบงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพระหว่างโรงพยาบาบที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกัลโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลโดยรสมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23328 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357283 THE WX150 ป572 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available