From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
การวิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลและอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี / รัตนา เพิ่มเพ็ชร์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : การวิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลและอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี Original title : An Analysis of nursing activeities and perioperative nurse staffing in the obstetric-gynecology operationg room at Ramathibodi Hospital Material Type: printed text Authors: รัตนา เพิ่มเพ็ชร์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ฎ, 150 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Nurses -- Manpower
[LCSH]Operating room nurses -- Manpower
[LCSH]พยาบาล -- อัตรากำลัง
[LCSH]พยาบาลห้องผ่าตัด -- อัตรากำลังKeywords: พยาบาล.
อัตรากำลัง
การบริหาร.
ห้องผ่าตัด.Class number: WY157 ร745 2553 Abstract: วิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลตามความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย ศึกษาจำนวนชั่วโมงการพยาบาลของพยาบาลในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วยในระยะก่อนผ่าตัด ระยะผ่าตัด และระยะหลังผ่าตัด และเพื่อศึกษาอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี และมีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 29 คน ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพจำนวน 18 คน และผู้ช่วยพยาบาลจำนวน 11 คน ซึ่งได้จากการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย และส่วนที่ 2 คือ แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมพยาบาล และคู่มือพจนานุกรมกิจกรรมการพยาบาลผ่าตัด ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 0.94 และหาค่าความเที่ยงจากการสังเกตโดยเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กิจกรรมการพยาบาลตามความต้องการการพยาบาลให้ผู้ป่วย 1 ราย ในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี มีกิจกรรมหลัก ระยะก่อนผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 4 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 3 กิจกรรม ระยะผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 3 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 2 กิจกรรม และระยะหลังผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 3 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 3 กิจกรรม 2. จำนวนชั่วโมงการพยาบาลของพยาบาลในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วย 1 ราย ในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี ใช้เวลาเฉลี่ยรวม 6 ชั่วโมง 37.8 นาที ซึ่งใช้เวลาในระยะก่อนผ่าตัด 1ชั่วโมง 7 นาที ระยะผ่าตัด 3 ชั่วโมง 51.6 นาที และระยะหลังผ่าตัด 1 ชั่วโมง 39.1 นาที 3. อัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาล ตามความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วยในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดีที่ควรจะมีบุคลากรทางการพยาบาลรวมทั้งสิ้น 36 คน โดยแบ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพจำนวน 27 คน และผู้ปฏิบัติงานพยาบาลจำนวน 9 คน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23199 การวิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลและอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี = An Analysis of nursing activeities and perioperative nurse staffing in the obstetric-gynecology operationg room at Ramathibodi Hospital [printed text] / รัตนา เพิ่มเพ็ชร์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ฎ, 150 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Nurses -- Manpower
[LCSH]Operating room nurses -- Manpower
[LCSH]พยาบาล -- อัตรากำลัง
[LCSH]พยาบาลห้องผ่าตัด -- อัตรากำลังKeywords: พยาบาล.
อัตรากำลัง
การบริหาร.
ห้องผ่าตัด.Class number: WY157 ร745 2553 Abstract: วิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลตามความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย ศึกษาจำนวนชั่วโมงการพยาบาลของพยาบาลในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วยในระยะก่อนผ่าตัด ระยะผ่าตัด และระยะหลังผ่าตัด และเพื่อศึกษาอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี และมีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 29 คน ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพจำนวน 18 คน และผู้ช่วยพยาบาลจำนวน 11 คน ซึ่งได้จากการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย และส่วนที่ 2 คือ แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมพยาบาล และคู่มือพจนานุกรมกิจกรรมการพยาบาลผ่าตัด ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 0.94 และหาค่าความเที่ยงจากการสังเกตโดยเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กิจกรรมการพยาบาลตามความต้องการการพยาบาลให้ผู้ป่วย 1 ราย ในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี มีกิจกรรมหลัก ระยะก่อนผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 4 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 3 กิจกรรม ระยะผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 3 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 2 กิจกรรม และระยะหลังผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 3 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 3 กิจกรรม 2. จำนวนชั่วโมงการพยาบาลของพยาบาลในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วย 1 ราย ในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี ใช้เวลาเฉลี่ยรวม 6 ชั่วโมง 37.8 นาที ซึ่งใช้เวลาในระยะก่อนผ่าตัด 1ชั่วโมง 7 นาที ระยะผ่าตัด 3 ชั่วโมง 51.6 นาที และระยะหลังผ่าตัด 1 ชั่วโมง 39.1 นาที 3. อัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาล ตามความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วยในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดีที่ควรจะมีบุคลากรทางการพยาบาลรวมทั้งสิ้น 36 คน โดยแบ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพจำนวน 27 คน และผู้ปฏิบัติงานพยาบาลจำนวน 9 คน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23199 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354686 WY157 ร745 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available