From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ผลของการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฎิบัิติการพยาบาล / กิตติพร สมที / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ผลของการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฎิบัิติการพยาบาล : ของนักศึกษาพยาบาลต่อความพึงพอใจของอาจารย์พยาบาล Original title : Effects of the development computer program for practicum of nursing onm satisfaction of nursing instructors Material Type: printed text Authors: กิตติพร สมที, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ญ, 101 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-030-307-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Program Evaluation
[LCSH]การประเมินผลทางการศึกษา -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
[LCSH]การพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การประเมินKeywords: โปรแกรมคอมพิวเตอร์.
นักศึกษาพยาบาล.
การพยาบาล.Class number: WY18 ก134 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฎิบัติการพยาบาลของนักศึุกษาพยาบาลสำหรับอาจารย์พยาบาลและเปรียบเทียบความพึงพอใจของอาจารย์ฺพยาบาลต่อการประมวลผลภาคปฎิบัิติการพยาบาล ด้านกระบวนการประมวลผล ด้านการรายงานผลและด้านระยะเวลาในการประมวลผล กลุ่มตัวอย่างคืออาจารย์พยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีชลบุรี ที่ทำหน้าที่นิเทศนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัิตบนตึกผู้ป่วย จำนวน 32 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่ายได้กลุ่มทดลอง 16 คน และกลุ่มควบคุม 16 คน เครื่องมือทีีใช้ในการทดลองคือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฎิบัิตการพยาบาลของอาจารย์ ค่าความเที่ยงเท่ากับ .9679 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที
ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปไ้ด้ดังนี้
1. ความพึงพอใจของอาจารย์พยาบาลต่อการประมวลผลภาคการปฏิบัิตการพยาบาลภายหลังการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฏิบัิติการพยาบาลของนักศึกษา อยู่ในระดับมากและมีความพึงพอใจสูงกว่าการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระกดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อาจารย์พยาบาลมีความพึงพอใจในการประมวลผลภาคปฏิบัติการพยาบาลสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองทุก้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความพึงพอใจของอาจารย์พยาบาลต่อการประมวลผลภาคปฎิบัติการพยาบาล กลุ่มที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลสูงกว่ากลุ่มที่ใช้วิธีตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งโดยรวมและรายด้าน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23184 ผลของการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฎิบัิติการพยาบาล = Effects of the development computer program for practicum of nursing onm satisfaction of nursing instructors : ของนักศึกษาพยาบาลต่อความพึงพอใจของอาจารย์พยาบาล [printed text] / กิตติพร สมที, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ญ, 101 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-030-307-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Program Evaluation
[LCSH]การประเมินผลทางการศึกษา -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์
[LCSH]การพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การประเมินKeywords: โปรแกรมคอมพิวเตอร์.
นักศึกษาพยาบาล.
การพยาบาล.Class number: WY18 ก134 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฎิบัติการพยาบาลของนักศึุกษาพยาบาลสำหรับอาจารย์พยาบาลและเปรียบเทียบความพึงพอใจของอาจารย์ฺพยาบาลต่อการประมวลผลภาคปฎิบัิติการพยาบาล ด้านกระบวนการประมวลผล ด้านการรายงานผลและด้านระยะเวลาในการประมวลผล กลุ่มตัวอย่างคืออาจารย์พยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีชลบุรี ที่ทำหน้าที่นิเทศนักศึกษาพยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัิตบนตึกผู้ป่วย จำนวน 32 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่ายได้กลุ่มทดลอง 16 คน และกลุ่มควบคุม 16 คน เครื่องมือทีีใช้ในการทดลองคือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฎิบัิตการพยาบาลของอาจารย์ ค่าความเที่ยงเท่ากับ .9679 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที
ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปไ้ด้ดังนี้
1. ความพึงพอใจของอาจารย์พยาบาลต่อการประมวลผลภาคการปฏิบัิตการพยาบาลภายหลังการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฏิบัิติการพยาบาลของนักศึกษา อยู่ในระดับมากและมีความพึงพอใจสูงกว่าการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระกดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อาจารย์พยาบาลมีความพึงพอใจในการประมวลผลภาคปฏิบัติการพยาบาลสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองทุก้านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ความพึงพอใจของอาจารย์พยาบาลต่อการประมวลผลภาคปฎิบัติการพยาบาล กลุ่มที่ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลภาคปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลสูงกว่ากลุ่มที่ใช้วิธีตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งโดยรวมและรายด้าน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23184 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383768 WY18 ก134 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available