From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / รัฐพล ไชยธรรม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 68 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 SIU IS-T. บทบาทหน้าที่สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงาน องค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Roles and Duties of Sub-District Local Administrative Organization’s Member in Management of Map Yang Porn Sub-District Local Administrative Organization Administration of, Plaukdang District, Rayong Province [printed text] / รัฐพล ไชยธรรม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 68 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหาร
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- บทบาท
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- ระยอง -- มาบยางพรKeywords: การบริหารงาน,
บทบาท,
สมาชิก,
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การค้นคว้าอิสระงานนี้จึงศึกษาบทบาทหน้าที่ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลกับการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลมาบยางพร โดยเครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากเจ้าหน้าที่จำนวน 7 คน จากนั้นนำมาทำการวิเคราะห์ทางสถิติใช้สถิติเชิงพรรณา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 41 - 50 ปี จบการศึกษามัธยมศึกษา มีระยะเวลาการปฏิบัติงาน 7-10 ปี สำหรับบทบาทหน้าที่โดยภาพรวม พบว่า ให้ความเห็นชอบตามแผนพัฒนาตำบล เมื่อมีการพิจารณาร่างข้อบัญญัติตำบลยึดหลักตามสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน มีการทักท้วงให้ข้อเสนอแนะ ในเรื่องปัญหาอุปสรรคการปฏิบัติงานด้านแผนพัฒนาตำบล ข้อบัญญัติตำบล นอกจากนี้พบว่าการทำงานที่ล่าช้าไม่ทันความต้องการของประชาชน ในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ผู้ตอบแบบสอบถามจะคอยเสนอแนะในการประชุมของผู้บริหาร ให้ข้อเสนอแนะแนวทางการปฏิบัติงานของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล คือ ต้องประชาสัมพันธ์ พบปะประชาชน เสียสละ เสนอแผนงานโครงการตามนโยบายของการCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26653 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593010 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593028 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนบุคคล: การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ / ประสูตร เหลืองสมานกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนบุคคล: การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ Original title : Factors Affecting the Strengths of Tambon Administrative Organizations: An Analysis of Problems and Causes Material Type: printed text Authors: ประสูตร เหลืองสมานกุล, Author ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 230 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: ปัจจัยความเข้มแข็ง
องค์การบริหารส่วนตำบลCurricular : MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26594 SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนบุคคล: การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุ = Factors Affecting the Strengths of Tambon Administrative Organizations: An Analysis of Problems and Causes [printed text] / ประสูตร เหลืองสมานกุล, Author ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 230 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: ปัจจัยความเข้มแข็ง
องค์การบริหารส่วนตำบลCurricular : MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26594 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592368 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592335 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ / มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล / กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ Original title : Conflict in the Organization : A case study of Sub-District Administration Organization (SDAO) of Chiangmai Province Material Type: printed text Authors: มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ซ, 241 แผ่น Size: 30 ซม. General note: วิทยานิพนธ์ [ร.ป.ม.]] -- คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การปกครองท้องถิ่น -- ไทย
[LCSH]สภาตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.
เชียงใหม่.
การบริหารความขัดแย้ง.Class number: JS7402 .A2 ม6432 2545 Abstract: งานวิจัยนี้ มัวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจถึงประเภท สาเหตุ ตลอดจนแนวทางในการบริหารความขัดแย้งที่มีอยู่ใน อบต. จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 183 แห่ง มีผู้กรอกแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 195 คน โดยใช้แนวความคิด 3 ประการเป็นกรอบ คือ 1. แนวความคิดเรื่องความขัดแย้ง 2. แนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น 3. แนวความคิดเรื่องการกระจายอำนาจ ผลการศึกษาพบว่า อบต. มองความขัดแย้งทั้งบวกและลบ ความขัดแย้่งส่วนมากจะมาจากผลประโยชน์ การต่อสู้แข่งขันกัน และมองว่าเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นการแย่งชิงทรัพยากร เป้าหมาย การรับรู้ มีทั้งเนื้อหา วิธีการ และพฤติกรรม
จากการศึกษาได้ค้นพบสาเหตุของความขัดแย้งใน อบต. เชียงใหม่ว่า มาจากอำนาจแฝงหรืออิทธิพลของบางคนใน อบต.เอง ประโยชน์ ระบบงาน การเมืองในองค์การ อบต. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และจากการศึกษายังได้พบว่า อบต. เชียงใหม่ มีรูปแบบที่น่าสนใจในการบริหารความขัดแย้งหลายวิธีด้วยกัน เช่น การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีม การหาเป้าหมายร่วมกัน การเจรจาต่อรอง และการเข้าฝึกอบรมนอกสำนักงาน เป็นต้น
ส่วนข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอว่า ควรจะมีการเพิ่มพูนคุณวุฒิของสมาชิก อบต. เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการเตรียมบุคลากรให้พร้่อมต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารท้องถิ่น โดยการเน้นประสิทธิภาพของ อบต. และความเจริญของท้องถิ่นไปพร้อมกันโดยสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวออกจากประโยชน์ส่วนรวม
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23166 ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ = Conflict in the Organization : A case study of Sub-District Administration Organization (SDAO) of Chiangmai Province [printed text] / มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ซ, 241 แผ่น ; 30 ซม.
วิทยานิพนธ์ [ร.ป.ม.]] -- คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การปกครองท้องถิ่น -- ไทย
[LCSH]สภาตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.
เชียงใหม่.
การบริหารความขัดแย้ง.Class number: JS7402 .A2 ม6432 2545 Abstract: งานวิจัยนี้ มัวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจถึงประเภท สาเหตุ ตลอดจนแนวทางในการบริหารความขัดแย้งที่มีอยู่ใน อบต. จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 183 แห่ง มีผู้กรอกแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 195 คน โดยใช้แนวความคิด 3 ประการเป็นกรอบ คือ 1. แนวความคิดเรื่องความขัดแย้ง 2. แนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น 3. แนวความคิดเรื่องการกระจายอำนาจ ผลการศึกษาพบว่า อบต. มองความขัดแย้งทั้งบวกและลบ ความขัดแย้่งส่วนมากจะมาจากผลประโยชน์ การต่อสู้แข่งขันกัน และมองว่าเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นการแย่งชิงทรัพยากร เป้าหมาย การรับรู้ มีทั้งเนื้อหา วิธีการ และพฤติกรรม
จากการศึกษาได้ค้นพบสาเหตุของความขัดแย้งใน อบต. เชียงใหม่ว่า มาจากอำนาจแฝงหรืออิทธิพลของบางคนใน อบต.เอง ประโยชน์ ระบบงาน การเมืองในองค์การ อบต. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และจากการศึกษายังได้พบว่า อบต. เชียงใหม่ มีรูปแบบที่น่าสนใจในการบริหารความขัดแย้งหลายวิธีด้วยกัน เช่น การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีม การหาเป้าหมายร่วมกัน การเจรจาต่อรอง และการเข้าฝึกอบรมนอกสำนักงาน เป็นต้น
ส่วนข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอว่า ควรจะมีการเพิ่มพูนคุณวุฒิของสมาชิก อบต. เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการเตรียมบุคลากรให้พร้่อมต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารท้องถิ่น โดยการเน้นประสิทธิภาพของ อบต. และความเจริญของท้องถิ่นไปพร้อมกันโดยสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวออกจากประโยชน์ส่วนรวม
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23166 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000308989 JS7402 .A2 ม6432 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available