From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก / จุไร ประธาน / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2548
Title : สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก Original title : The Relationship between student nurse and staff nurse in clinical practice Material Type: printed text Authors: จุไร ประธาน, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2548 Pagination: 110 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือ
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: พยาบาล.
การศึกษา.
การสอน.Class number: WY100 จ249 2548 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพ จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีทีื4 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ในโครงการร่วมผลิตระหว่างมหาวิทยาลัยนเรศวร และวิทยาลัียพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดกระทรวงสาํธารณสุข จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราห์ข้อมูลโดยใช้การตีความ
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติิทางคลินิกแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก และ 2. สัมพันธภาพที่ไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติทางคลินิก ของนักศึกษาประกอบด้วย 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก มี 4 ปัจจัย คือ 1.1 บรรยากาศการต้อนรับที่ดีและเป็นกันเองของพยาบาลวิชาชีพ 1.2 การให้ความเาใจใส่ดูแลในการสอนและนิเทศงาน 1.3 การแสดงความชื่นชมให้กำลังใจ และให้ความสำคัญ 1.4 การเรียนรู้และหาคำตอบด้วยตนเอง ปัจจัยทั้ง 4 ประการนี้ นักศึกษาระบุว่า ทำให้นักศึกษาได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ในการฝึกภาคปฎิบัติอย่างเต็มที่ ช่วยให้นักศึกษามีความมั่นใจ และมีความสุขในการเรียนภาคปฎิบัติ 2. ส่วนสัีมพัีนธภาพที่เป็นอุปสรรคและไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติงานทางด้านคลินิก ประกอบด้วย 2.1 บรรยากาศทางคลินิกที่ตึงเครียด 2.2 การสูญเสียในความเป็นบุคคล 2.3 การไม่ได้รับโอกาสในการทดลองฝึกปฎิบัติื และ 2.4 การปฎิบัติการพยาบาลที่ไม่สอดคล้องกัน ทำให้นักศึกษาไม่อย่ากขึ้นฝึกปฎิบัติงาน ทำให้การเรียนรู้ของนักศึกษาถูกจำกัด และไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ผลการวิจัยครั้งนี้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติทางคลินิก สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการเสนอแนะเพิ่มการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพเพื่อให้บรรลุเ้ป้าหมายของการฝึกภาคปฎิบัติในคลินิกCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23152 สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก = The Relationship between student nurse and staff nurse in clinical practice [printed text] / จุไร ประธาน, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548 . - 110 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือ
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: พยาบาล.
การศึกษา.
การสอน.Class number: WY100 จ249 2548 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพ จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีทีื4 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ในโครงการร่วมผลิตระหว่างมหาวิทยาลัยนเรศวร และวิทยาลัียพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดกระทรวงสาํธารณสุข จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราห์ข้อมูลโดยใช้การตีความ
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติิทางคลินิกแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก และ 2. สัมพันธภาพที่ไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติทางคลินิก ของนักศึกษาประกอบด้วย 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก มี 4 ปัจจัย คือ 1.1 บรรยากาศการต้อนรับที่ดีและเป็นกันเองของพยาบาลวิชาชีพ 1.2 การให้ความเาใจใส่ดูแลในการสอนและนิเทศงาน 1.3 การแสดงความชื่นชมให้กำลังใจ และให้ความสำคัญ 1.4 การเรียนรู้และหาคำตอบด้วยตนเอง ปัจจัยทั้ง 4 ประการนี้ นักศึกษาระบุว่า ทำให้นักศึกษาได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ในการฝึกภาคปฎิบัติอย่างเต็มที่ ช่วยให้นักศึกษามีความมั่นใจ และมีความสุขในการเรียนภาคปฎิบัติ 2. ส่วนสัีมพัีนธภาพที่เป็นอุปสรรคและไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติงานทางด้านคลินิก ประกอบด้วย 2.1 บรรยากาศทางคลินิกที่ตึงเครียด 2.2 การสูญเสียในความเป็นบุคคล 2.3 การไม่ได้รับโอกาสในการทดลองฝึกปฎิบัติื และ 2.4 การปฎิบัติการพยาบาลที่ไม่สอดคล้องกัน ทำให้นักศึกษาไม่อย่ากขึ้นฝึกปฎิบัติงาน ทำให้การเรียนรู้ของนักศึกษาถูกจำกัด และไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ผลการวิจัยครั้งนี้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติทางคลินิก สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการเสนอแนะเพิ่มการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพเพื่อให้บรรลุเ้ป้าหมายของการฝึกภาคปฎิบัติในคลินิกCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23152 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354595 WY100 จ249 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available สัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือนักศึกษาพยาบาลของอาจารย์พยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัติ / วิจิตรา พูลเพิ่ม / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : สัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือนักศึกษาพยาบาลของอาจารย์พยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัติ Original title : Helping relationship to nursing students of instructors in clinical practice Material Type: printed text Authors: วิจิตรา พูลเพิ่ม, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ง-ซ, 104 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-172-610-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Education, Nursing.
[LCSH]Nursing -- Study and teaching.
[LCSH]Schools, Nursing.
[LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือKeywords: การศึกษา.
การสอน.
นักศึกษาพยาบาล.
การดูแล.Class number: WY20 ว724 2545 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประเสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์สัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือนักศึกษาพยาบาลของอาจารย์พยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัิติทางคลินิก ผู้ให้ข้อมูลเป็นอาจารย์พยาบาล ที่ปฎิบัติงานในวิทยาลัยพยาบาลขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในเขตภาคเหนือ ที่มีประสบการณ์การสอนและนิเทศนักศึกษาบนคลินิก 1 ปี ขึ้นไป จำนวน 18 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการตีควา่มเป็นหลัก
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือนักศึกษาของอาจารย์พยาบาล แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ประกอบด้วย การสร้างสัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือนักศึกษาของอาจารย์ และพฤติกรรมเชิงช่วยเหลือของอาจารย์ที่มีต่อนักศึกษา โดยขั้นตอนแรกจะเริ่มในการปฐมนิเทศก่อนขึ้นฝึกปฏิบัิติโดยอาจารย์จะแสดงออกอย่างเปิดเผยและจริงใจว่ามีความเข้าใจความรู้สึกของนักศึกษา และตระหนักถึงความแตกต่างของนักศึกษาในการฝึกปฎิบัิติ โดยใช้วิธีการพูดคุยสร้างความคุ้นเคยให้นักศึกษาไว้วางใจ เพื่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันเป็นเบื้องต้น และเมื่อขึ้นฝึกปฎิบัติพฤติกรรมเชิงช่วยเหลือของอาจารย์ของอาจารย์ที่มีต่อนักศึกษาจึงจะตามมาโดยอาจารย์แสดงออกพฤติกรรมในลักษณะ ให้โอกาสฝึกปฎิบัิติ ช่วยกระตุ้นให้คิดและฝึกให้กล้าปฎิบัิติอธิบายเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฎิบัิติ ช่วยเหลือชี้แนะและแก้ไขการฝึกปฎิบัิติการพยาบาลให้กำลังใจที่อบอุ่นสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการฝึกปฎิบัติ และประสานความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษากับพยาบาลประจำการความสัมพันธ์เชิงช่วยเหลือดังกล่าว อาจารย์ใช้สื่อการสื่อสารแบบสองทางเป็นแกนกลางในการสื่อความหมายเพื่อให้เกิดความเข้าใจและให้่ความช่วยเหลือได้สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษาแต่ละคน นอกจากนั้นยังพบว่า สัมพันธภาพที่ดีระหว่างอาจารย์กับพยาบาลประจำการจะช่วยสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาประสบความสำเร็จในการฝึกปฎิบัิติ ซึ่งไม่เฉพาะนักศึกษาที่กำลังฝึกปฎิบัติเท่านั้น แต่ยังส่งผลดีในนักศึกษาที่จะฝึกปฎิบัิติกลุ่มต่อไปด้วย
อย่างไรก็ตามแม้อาจารย์จะยอมรับและให้ความสำคัญกับการสื่อสารแบบสองทาง แต่ในทางปฎิบัิตกลับพบว่า อาจารย์ยังคงเป็นผู้มีอำนาจหรือมีอิทธิพลในการตัดสินใจมากกว่านักศึกษา เพราะลักษณะวิชาชีพพยาบาลเป็นการดูแลเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์ ต้องใช้ความรู้ความสามารถทั้งศาสตร์และศิลป์ในการปฎิบัิติ ซึ่งนักศึกษาเป็นเพียงผู้เริ่มฝึกหัดให้การพยาบาลเท่านั้น จึงจำเป็นต้องมีผู้ดูแลกำกับและให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้การตัดสินใจให้การพยาบาลนั้นถูกต้องและปลอดภัย และผู้ทำหน้าที่นี้่ได้อย่างเหมาะสมคือ อาจารย์พยาบาล.
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23181 สัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือนักศึกษาพยาบาลของอาจารย์พยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัติ = Helping relationship to nursing students of instructors in clinical practice [printed text] / วิจิตรา พูลเพิ่ม, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ง-ซ, 104 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-172-610-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Education, Nursing.
[LCSH]Nursing -- Study and teaching.
[LCSH]Schools, Nursing.
[LCSH]การเรียนรู้ -- นักศึกษาพยาบาล
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือKeywords: การศึกษา.
การสอน.
นักศึกษาพยาบาล.
การดูแล.Class number: WY20 ว724 2545 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ มีวัตถุประเสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์สัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือนักศึกษาพยาบาลของอาจารย์พยาบาลในการฝึกภาคปฎิบัิติทางคลินิก ผู้ให้ข้อมูลเป็นอาจารย์พยาบาล ที่ปฎิบัติงานในวิทยาลัยพยาบาลขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในเขตภาคเหนือ ที่มีประสบการณ์การสอนและนิเทศนักศึกษาบนคลินิก 1 ปี ขึ้นไป จำนวน 18 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการตีควา่มเป็นหลัก
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือนักศึกษาของอาจารย์พยาบาล แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ประกอบด้วย การสร้างสัมพันธภาพเชิงช่วยเหลือนักศึกษาของอาจารย์ และพฤติกรรมเชิงช่วยเหลือของอาจารย์ที่มีต่อนักศึกษา โดยขั้นตอนแรกจะเริ่มในการปฐมนิเทศก่อนขึ้นฝึกปฏิบัิติโดยอาจารย์จะแสดงออกอย่างเปิดเผยและจริงใจว่ามีความเข้าใจความรู้สึกของนักศึกษา และตระหนักถึงความแตกต่างของนักศึกษาในการฝึกปฎิบัิติ โดยใช้วิธีการพูดคุยสร้างความคุ้นเคยให้นักศึกษาไว้วางใจ เพื่อให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีต่อกันเป็นเบื้องต้น และเมื่อขึ้นฝึกปฎิบัติพฤติกรรมเชิงช่วยเหลือของอาจารย์ของอาจารย์ที่มีต่อนักศึกษาจึงจะตามมาโดยอาจารย์แสดงออกพฤติกรรมในลักษณะ ให้โอกาสฝึกปฎิบัิติ ช่วยกระตุ้นให้คิดและฝึกให้กล้าปฎิบัิติอธิบายเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การปฎิบัิติ ช่วยเหลือชี้แนะและแก้ไขการฝึกปฎิบัิติการพยาบาลให้กำลังใจที่อบอุ่นสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการฝึกปฎิบัติ และประสานความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างนักศึกษากับพยาบาลประจำการความสัมพันธ์เชิงช่วยเหลือดังกล่าว อาจารย์ใช้สื่อการสื่อสารแบบสองทางเป็นแกนกลางในการสื่อความหมายเพื่อให้เกิดความเข้าใจและให้่ความช่วยเหลือได้สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษาแต่ละคน นอกจากนั้นยังพบว่า สัมพันธภาพที่ดีระหว่างอาจารย์กับพยาบาลประจำการจะช่วยสนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษาประสบความสำเร็จในการฝึกปฎิบัิติ ซึ่งไม่เฉพาะนักศึกษาที่กำลังฝึกปฎิบัติเท่านั้น แต่ยังส่งผลดีในนักศึกษาที่จะฝึกปฎิบัิติกลุ่มต่อไปด้วย
อย่างไรก็ตามแม้อาจารย์จะยอมรับและให้ความสำคัญกับการสื่อสารแบบสองทาง แต่ในทางปฎิบัิตกลับพบว่า อาจารย์ยังคงเป็นผู้มีอำนาจหรือมีอิทธิพลในการตัดสินใจมากกว่านักศึกษา เพราะลักษณะวิชาชีพพยาบาลเป็นการดูแลเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์ ต้องใช้ความรู้ความสามารถทั้งศาสตร์และศิลป์ในการปฎิบัิติ ซึ่งนักศึกษาเป็นเพียงผู้เริ่มฝึกหัดให้การพยาบาลเท่านั้น จึงจำเป็นต้องมีผู้ดูแลกำกับและให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้การตัดสินใจให้การพยาบาลนั้นถูกต้องและปลอดภัย และผู้ทำหน้าที่นี้่ได้อย่างเหมาะสมคือ อาจารย์พยาบาล.
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23181 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383727 WY20 ว724 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available