Title : | ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร | Original title : | Relationships between systems thinking of head nurses, emotional intelligence of staff nurses, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis | Material Type: | printed text | Authors: | จุฑามาส ดุลยพิชช์, Author | Publisher: | คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | Publication Date: | 2552 | Pagination: | ก-ฎ, 151 แผ่น | Layout: | ภาพประกอบ | Size: | 30 | Price: | บริจาค. | General note: | วิทยานิพนธ์ [พย. ม.[การบริหารการพยาบาล]]--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]การพัฒนาตนเอง [LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์ [LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
| Keywords: | หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
ความฉลาดทางอารมณ์.
จิตวิทยา. | Class number: | WY18 จ243 2552 | Abstract: | ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 365 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ .97, .91 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง (mean = 3.71, SD = .61 และ mean = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 151.26, SD = 33.59) 2. การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r =.45 และ .32 ตามลำดับ) | Curricular : | BNS | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23208 |
ความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร = Relationships between systems thinking of head nurses, emotional intelligence of staff nurses, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / จุฑามาส ดุลยพิชช์, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศ่าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 151 แผ่น : ภาพประกอบ ; 30. บริจาค. วิทยานิพนธ์ [พย. ม.[การบริหารการพยาบาล]]--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]การพัฒนาตนเอง [LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์ [LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
| Keywords: | หัวหน้่าหอผู้ป่วย.
ความฉลาดทางอารมณ์.
จิตวิทยา. | Class number: | WY18 จ243 2552 | Abstract: | ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่มีประสบการณ์ทำงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 365 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage sampling) เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ .97, .91 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และการคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง (mean = 3.71, SD = .61 และ mean = 3.88, SD = .56 ตามลำดับ) ความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง (mean = 151.26, SD = 33.59) 2. การคิดเชิงระบบของหัวหน้าหอผู้ป่วย และความฉลาดทางอารมณ์ของพยาบาลประจำการ ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r =.45 และ .32 ตามลำดับ) | Curricular : | BNS | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23208 |
|