From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ / สมบูณ ขัตติยะสุวงศ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ : ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลรัฐและเอกชน กรุงเทพมหานคร Original title : Hospital services based on service marketing mix strategies as perceived by clients governmental and private hospitals Banglok metropolis Material Type: printed text Authors: สมบูณ ขัตติยะสุวงศ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ก-ฎ,134 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-130-979-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตลาด
[LCSH]อุตสาหกรรมบริการ -- การตลาด
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหารโรงพยาบาล.
การตลาด.
การบริการ.Class number: WX150 ส865 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา หรือมูลนิธิ 2. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลุยทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ใช้บริการจำนวน 368 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบการบริการตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยว .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียวและสถิติทดสอบ เชพเฟ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ค่าเฉลี่ยบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการ อยู่ในระดับมากส่วนด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทโรงพยาบาล ระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล และโรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา มูลนิธิ พบว่าค่าเฉลี่ยโรงพยาบาลรัฐกับเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนาหรือมูลนิธิมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ การส่งเสริมการตลาด บุคลากร และโดยรวมแตกต่างกัน โรงพยาบาลของรัฐกับเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัทมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ ราคา ลักษณะทางกายภาพ กระบวนการ และโดยรวมแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
3. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Non HA) พบว่าโดยรวมไม่แตกต่างกัน ด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดแตกต่างกันที่ระัดับนัยสำคัญ .05 ด้านการผลิดภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการให้บริการไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23325 การบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ = Hospital services based on service marketing mix strategies as perceived by clients governmental and private hospitals Banglok metropolis : ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลรัฐและเอกชน กรุงเทพมหานคร [printed text] / สมบูณ ขัตติยะสุวงศ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ก-ฎ,134 แผ่น. : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-130-979-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตลาด
[LCSH]อุตสาหกรรมบริการ -- การตลาด
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหารโรงพยาบาล.
การตลาด.
การบริการ.Class number: WX150 ส865 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา หรือมูลนิธิ 2. เปรียบเทียบการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลุยทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ใช้บริการจำนวน 368 คน สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบการบริการตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยว .90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิติทดสอบความแปรปรวนทางเดียวและสถิติทดสอบ เชพเฟ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ค่าเฉลี่ยบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการ อยู่ในระดับมากส่วนด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดอยู่ในระดับปานกลาง
2. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการ ตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทโรงพยาบาล ระหว่างโรงพยาบาลรัฐบาล และโรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัท และโรงพยาบาลเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนา มูลนิธิ พบว่าค่าเฉลี่ยโรงพยาบาลรัฐกับเอกชนที่เป็นขององค์กรศาสนาหรือมูลนิธิมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ การส่งเสริมการตลาด บุคลากร และโดยรวมแตกต่างกัน โรงพยาบาลของรัฐกับเอกชนที่ดำเนินการในรูปบริษัทมีค่าเฉลี่ยด้านผลิตภัณฑ์บริการ ราคา ลักษณะทางกายภาพ กระบวนการ และโดยรวมแตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05
3. ค่าเฉลี่ยการบริการของโรงพยาบาลตามกรอบกลยุทธ์ส่วนประสมการตลาดบริการตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) กับโรงพยาบาลที่ยังไม่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Non HA) พบว่าโดยรวมไม่แตกต่างกัน ด้านราคา ช่องทางการให้บริการ และการส่งเสริมการตลาดแตกต่างกันที่ระัดับนัยสำคัญ .05 ด้านการผลิดภัณฑ์บริการ บุคลากร ลักษณะทางกายภาพ และกระบวนการให้บริการไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23325 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357317 THE WX150 ส865 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข / วีรวรรณ เกิดทอง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : A study of orgaizational health of nursing departments governmental hospital health under the jurisdiction of theMinstry of public health Material Type: printed text Authors: วีรวรรณ เกิดทอง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ฎ, 165 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-131-018-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การรับรองคุณภาพ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสุขภพาองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และเปรียบเทียบสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล จำแนกตามการได้รับรองคุณภาพโรงพยาบาล และที่ตั้งโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วยพยาบาลประจำการ 753 คน และผู้บริหาร 181 คส สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงหนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยการหาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้่อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและทดสอบความแตกต่าง Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23364 การศึกษาสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข = A study of orgaizational health of nursing departments governmental hospital health under the jurisdiction of theMinstry of public health [printed text] / วีรวรรณ เกิดทอง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ฎ, 165 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-131-018-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การรับรองคุณภาพ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสุขภพาองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล โรงพยาบาลของรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และเปรียบเทียบสุขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล จำแนกตามการได้รับรองคุณภาพโรงพยาบาล และที่ตั้งโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ ประกอบด้วยพยาบาลประจำการ 753 คน และผู้บริหาร 181 คส สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสขภาพองค์การของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงหนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยการหาสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้่อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและทดสอบความแตกต่าง Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23364 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000543171 THE WY125 ว737 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ / ปรารถนา หมี้แสน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ : โรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ Original title : A comparison of human resourse management of nursing departments as perceived by professional nurses hospital participated and non particpated in hospital total quality management program Material Type: printed text Authors: ปรารถนา หมี้แสน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ก-ฌ, 135 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-334-553-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการ
[LCSH]บุคลากรโรงพยาบาล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การจัดการ.
ทรัพยากรมนุษย์.
การพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ป572 2542 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล
2. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 3. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลหลังจากเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพเป็นระยะเวลา 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี 4. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกับโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค มีค่าความเที่ยง .094 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่บงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิตทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ระบบงานอยู่ในระดับมาก การศึกษา ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และความสุขสมบรูณ์ และความพึงพอใจของพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพโดยรวมไม่แตกต่างกัน รายด้านระบบงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพระหว่างโรงพยาบาบที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกัลโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลโดยรสมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23328 การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ = A comparison of human resourse management of nursing departments as perceived by professional nurses hospital participated and non particpated in hospital total quality management program : โรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ [printed text] / ปรารถนา หมี้แสน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ก-ฌ, 135 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISBN : 978-974-334-553-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการ
[LCSH]บุคลากรโรงพยาบาล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การจัดการ.
ทรัพยากรมนุษย์.
การพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ป572 2542 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล
2. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 3. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลหลังจากเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพเป็นระยะเวลา 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี 4. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกับโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค มีค่าความเที่ยง .094 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่บงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิตทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ระบบงานอยู่ในระดับมาก การศึกษา ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และความสุขสมบรูณ์ และความพึงพอใจของพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพโดยรวมไม่แตกต่างกัน รายด้านระบบงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพระหว่างโรงพยาบาบที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกัลโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลโดยรสมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23328 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357283 THE WX150 ป572 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ / กุลญนาท ผ่องแผ้ว / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Original title : Relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals Material Type: printed text Authors: กุลญนาท ผ่องแผ้ว, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ญ, 129 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความสามารถทางการบริหาร
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: วัฒนธรรมองค์การ.
การบริหาร
โรงพยาบาลClass number: WX40 ก133 2549 Abstract: To examine the relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals. Subject were 352 staff nurses how worked in patient units at accredited regional hospitals more than 3 years, selected by multi-stage sampling. Data were collected by using questionnaires : demographic data, total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units. The questionnaires were tested for content validity and reliability by Cronbach’s alpha coefficients were .98, .95, and .92, respectively. Data were analyzed by percentage, frequency, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient. The major findings were as follows: 1. Effectiveness of patient units, total quality management ability of head nurses and constructive organizational culture at accredited regional hospitals were at high level. (mean = 4.02, SD = .42, X = 3.93, SD = .59 and mean = 3.82, DS = .50, respectively) 2. Total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture were positive significantly correlated with effectiveness of patient units, at the .05 level.) r = .72 and .75, respectively.
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จำนวน 352 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามรถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .98, .95 และ .92 ตามลชำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ อยู่ในระดับสูง (X =4.02, SD =.42, X =3.93, SD =.59 และ X =3.82, SD = .50 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .72 และ .75 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23133 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ = Relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals [printed text] / กุลญนาท ผ่องแผ้ว, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ญ, 129 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความสามารถทางการบริหาร
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: วัฒนธรรมองค์การ.
การบริหาร
โรงพยาบาลClass number: WX40 ก133 2549 Abstract: To examine the relationships between total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses at accredited regional hospitals. Subject were 352 staff nurses how worked in patient units at accredited regional hospitals more than 3 years, selected by multi-stage sampling. Data were collected by using questionnaires : demographic data, total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture and effectiveness of patient units. The questionnaires were tested for content validity and reliability by Cronbach’s alpha coefficients were .98, .95, and .92, respectively. Data were analyzed by percentage, frequency, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient. The major findings were as follows: 1. Effectiveness of patient units, total quality management ability of head nurses and constructive organizational culture at accredited regional hospitals were at high level. (mean = 4.02, SD = .42, X = 3.93, SD = .59 and mean = 3.82, DS = .50, respectively) 2. Total quality management ability of head nurses, constructive organizational culture were positive significantly correlated with effectiveness of patient units, at the .05 level.) r = .72 and .75, respectively.
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ จำนวน 352 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามรถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .98, .95 และ .92 ตามลชำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ อยู่ในระดับสูง (X =4.02, SD =.42, X =3.93, SD =.59 และ X =3.82, SD = .50 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของหัวหน้าหอผู้ป่วย และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .72 และ .75 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23133 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354421 WX40 ก133 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฎิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล / สุลัดดา พงศ์รัตนามาน / จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฎิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล Original title : Relationships between leadership and the service quality improvement perpformance of head nurses, private hospitals participated in hospital accreditation program Material Type: printed text Authors: สุลัดดา พงศ์รัตนามาน, Author Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: [10], 167 หน้า Size: 30 ซม. Price: Gift General note: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย และศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จำนวน 12 แห่ง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ จำนวน 301 คน สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบง่ย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ ประกอบด้วย แบบสอบถามภาวะผู้นำและแบบสอบถามการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ มีค่าความเที่ยง .9624 และ .9785 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมอยู่ในระดับสูง 2. ภาวะผู้นำด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและด้านภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยนต่างมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .773, .749) 3. ภาวะผู้นำมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .785) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริการทางการแพทย์ -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทย
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพ
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24953 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฎิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล = Relationships between leadership and the service quality improvement perpformance of head nurses, private hospitals participated in hospital accreditation program [printed text] / สุลัดดา พงศ์รัตนามาน, Author . - [S.l.] : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - [10], 167 หน้า ; 30 ซม.
Gift
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปฏิบัติกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย และศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลเอกชนที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล จำนวน 12 แห่ง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ จำนวน 301 คน สุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบง่ย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ ประกอบด้วย แบบสอบถามภาวะผู้นำและแบบสอบถามการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ มีค่าความเที่ยง .9624 และ .9785 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. การปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมอยู่ในระดับสูง 2. ภาวะผู้นำด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงและด้านภาวะผู้นำการแลกเปลี่ยนต่างมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .773, .749) 3. ภาวะผู้นำมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับการปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .785)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริการทางการแพทย์ -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทย
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพ
[LCSH]โรงพยาบาลเอกชนCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24953 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000543320 THE WY150 ส868 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล / อารีย์ คำนวนศักดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล Original title : Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers Material Type: printed text Authors: อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 124 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-810-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล = Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers [printed text] / อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 124 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-810-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357010 THE WY125 อ927 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ / เฉลิมศรี นนทนาคร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ Original title : The nursing organizational culture of accredited regional hospitals Material Type: printed text Authors: เฉลิมศรี นนทนาคร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ญ, 214 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหาร.
โรงพยาบาล.
การรับรองคุณภาพ.
การบริการ.Class number: WX15 ฉ276 2549 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์การพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้ให้ข้อมูลคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 29 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญด้านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนำมาสร้างแบบสอบถาม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของข้อคำถามแต่ละข้อ ขั้นตอนที่ 3 นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความคิดเห็นเพื่อสรุปเป็นวัฒนธรรมองค์การพยาบาลที่สำคัญ หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาสรุปผลการวิจัยโดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ รวม 61 รายการ ดังนี้ 1) ผู้นำ 7 รายการ 2) การบริหารองค์การ 11 รายการ 3) การบริการ 11 รายการ 4) การพัฒนาคุณภาพการบริการ 10 รายการ 5) คุณภาพชีวิตการทำงาน 9 รายการ 6) ไมตรีสัมพันธ์ 6 รายการ 7) สภาพแวดล้อม 7 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23197 วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ = The nursing organizational culture of accredited regional hospitals [printed text] / เฉลิมศรี นนทนาคร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ญ, 214 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การบริหาร.
โรงพยาบาล.
การรับรองคุณภาพ.
การบริการ.Class number: WX15 ฉ276 2549 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์การพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้ให้ข้อมูลคือผู้เชี่ยวชาญจำนวน 29 คน ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านการพยาบาลศึกษา ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการพยาบาล ผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการพยาบาล และผู้เชี่ยวชาญด้านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล วิธีการดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณ์เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เนื้อหาแล้วนำมาสร้างแบบสอบถาม เพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับระดับความสำคัญของข้อคำถามแต่ละข้อ ขั้นตอนที่ 3 นำข้อมูลที่ได้มาคำนวณค่ามัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ และส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญยืนยันความคิดเห็นเพื่อสรุปเป็นวัฒนธรรมองค์การพยาบาลที่สำคัญ หลังจากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาสรุปผลการวิจัยโดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ผลการวิจัยพบว่า วัฒนธรรมองค์การพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ได้รับการรับรองคุณภาพประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ รวม 61 รายการ ดังนี้ 1) ผู้นำ 7 รายการ 2) การบริหารองค์การ 11 รายการ 3) การบริการ 11 รายการ 4) การพัฒนาคุณภาพการบริการ 10 รายการ 5) คุณภาพชีวิตการทำงาน 9 รายการ 6) ไมตรีสัมพันธ์ 6 รายการ 7) สภาพแวดล้อม 7 รายการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23197 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355014 WX15 ฉ276 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available