From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ผลของบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะเรื่องการพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน / จิราพร อุดมกิจพิพัฒน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ผลของบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะเรื่องการพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน : ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล Original title : Effects of concept mapping in nursing care of complicated pregnant mothers using intelligent computer assisted instruction on achievement and learning retention of nursing students Material Type: printed text Authors: จิราพร อุดมกิจพิพัฒน์, (2516), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ญ, 119 แผ่น Layout: ภาพประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-711-4 Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความคิดรวบยอด
[LCSH]คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนแบบอัจฉริยะ
[LCSH]ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: นักศึกษาพยาบาล.
การเรียนรู้.
ึคอมพิวเตอร์ช่วยการสอน.Class number: WQ240 จ237 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ได้ใช้แบบแผนการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาล ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ กับกลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ และเปรียบเทียบความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะกับกลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี จำนวน 36 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 18 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 18 คน โดยการสุ่มแบบจับคู่ตามลำดับคะแนนเฉลี่ยสะสมของนักศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ บทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ คู่มือการใช้บทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ค่าความเที่ยงของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเท่ากับ 69 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาล หลังการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะสูงกว่าก่อนสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23132 ผลของบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะเรื่องการพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน = Effects of concept mapping in nursing care of complicated pregnant mothers using intelligent computer assisted instruction on achievement and learning retention of nursing students : ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / จิราพร อุดมกิจพิพัฒน์, (2516), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ญ, 119 แผ่น : ภาพประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-711-4 : บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความคิดรวบยอด
[LCSH]คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนแบบอัจฉริยะ
[LCSH]ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: นักศึกษาพยาบาล.
การเรียนรู้.
ึคอมพิวเตอร์ช่วยการสอน.Class number: WQ240 จ237 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ได้ใช้แบบแผนการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาล ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ กับกลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ และเปรียบเทียบความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะกับกลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี จำนวน 36 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 18 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 18 คน โดยการสุ่มแบบจับคู่ตามลำดับคะแนนเฉลี่ยสะสมของนักศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ บทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ คู่มือการใช้บทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ ค่าความเที่ยงของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเท่ากับ 69 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาล หลังการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะสูงกว่าก่อนสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความคงทนในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มที่ได้รับการสอนด้วยบทเรียนการสร้างผังมโนทัศน์ โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23132 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354579 WQ240 จ237 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก / จุไร ประธาน / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2548
Title : สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก Original title : The Relationship between student nurse and staff nurse in clinical practice Material Type: printed text Authors: จุไร ประธาน, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2548 Pagination: 110 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือ
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: พยาบาล.
การศึกษา.
การสอน.Class number: WY100 จ249 2548 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพ จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีทีื4 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ในโครงการร่วมผลิตระหว่างมหาวิทยาลัยนเรศวร และวิทยาลัียพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดกระทรวงสาํธารณสุข จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราห์ข้อมูลโดยใช้การตีความ
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติิทางคลินิกแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก และ 2. สัมพันธภาพที่ไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติทางคลินิก ของนักศึกษาประกอบด้วย 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก มี 4 ปัจจัย คือ 1.1 บรรยากาศการต้อนรับที่ดีและเป็นกันเองของพยาบาลวิชาชีพ 1.2 การให้ความเาใจใส่ดูแลในการสอนและนิเทศงาน 1.3 การแสดงความชื่นชมให้กำลังใจ และให้ความสำคัญ 1.4 การเรียนรู้และหาคำตอบด้วยตนเอง ปัจจัยทั้ง 4 ประการนี้ นักศึกษาระบุว่า ทำให้นักศึกษาได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ในการฝึกภาคปฎิบัติอย่างเต็มที่ ช่วยให้นักศึกษามีความมั่นใจ และมีความสุขในการเรียนภาคปฎิบัติ 2. ส่วนสัีมพัีนธภาพที่เป็นอุปสรรคและไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติงานทางด้านคลินิก ประกอบด้วย 2.1 บรรยากาศทางคลินิกที่ตึงเครียด 2.2 การสูญเสียในความเป็นบุคคล 2.3 การไม่ได้รับโอกาสในการทดลองฝึกปฎิบัติื และ 2.4 การปฎิบัติการพยาบาลที่ไม่สอดคล้องกัน ทำให้นักศึกษาไม่อย่ากขึ้นฝึกปฎิบัติงาน ทำให้การเรียนรู้ของนักศึกษาถูกจำกัด และไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ผลการวิจัยครั้งนี้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติทางคลินิก สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการเสนอแนะเพิ่มการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพเพื่อให้บรรลุเ้ป้าหมายของการฝึกภาคปฎิบัติในคลินิกCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23152 สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิก = The Relationship between student nurse and staff nurse in clinical practice [printed text] / จุไร ประธาน, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2548 . - 110 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. [พย.ม. [การพยาบาลศึกษา]] - มหาวิทยาลัยนเรศวร 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาลศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน
[LCSH]พฤติกรรมการช่วยเหลือ
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: พยาบาล.
การศึกษา.
การสอน.Class number: WY100 จ249 2548 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพ จุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฏิบัติทางคลินิกตามการรับรู้ของนักศึกษาพยาบาล ผู้ให้ข้อมูลเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีทีื4 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ในโครงการร่วมผลิตระหว่างมหาวิทยาลัยนเรศวร และวิทยาลัียพยาบาลบรมราชชนนี สังกัดกระทรวงสาํธารณสุข จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการบันทึกเทป วิเคราห์ข้อมูลโดยใช้การตีความ
ผลการศึกษาพบว่า สัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติิทางคลินิกแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก และ 2. สัมพันธภาพที่ไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติทางคลินิก ของนักศึกษาประกอบด้วย 1. สัมพันธภาพที่ส่งเสริมการฝึกปฏิบัติทางคลินิก มี 4 ปัจจัย คือ 1.1 บรรยากาศการต้อนรับที่ดีและเป็นกันเองของพยาบาลวิชาชีพ 1.2 การให้ความเาใจใส่ดูแลในการสอนและนิเทศงาน 1.3 การแสดงความชื่นชมให้กำลังใจ และให้ความสำคัญ 1.4 การเรียนรู้และหาคำตอบด้วยตนเอง ปัจจัยทั้ง 4 ประการนี้ นักศึกษาระบุว่า ทำให้นักศึกษาได้รับประโยชน์จากประสบการณ์ในการฝึกภาคปฎิบัติอย่างเต็มที่ ช่วยให้นักศึกษามีความมั่นใจ และมีความสุขในการเรียนภาคปฎิบัติ 2. ส่วนสัีมพัีนธภาพที่เป็นอุปสรรคและไม่ส่งเสริมการฝึกปฎิบัติงานทางด้านคลินิก ประกอบด้วย 2.1 บรรยากาศทางคลินิกที่ตึงเครียด 2.2 การสูญเสียในความเป็นบุคคล 2.3 การไม่ได้รับโอกาสในการทดลองฝึกปฎิบัติื และ 2.4 การปฎิบัติการพยาบาลที่ไม่สอดคล้องกัน ทำให้นักศึกษาไม่อย่ากขึ้นฝึกปฎิบัติงาน ทำให้การเรียนรู้ของนักศึกษาถูกจำกัด และไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ผลการวิจัยครั้งนี้ได้ข้อมูลที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลกับพยาบาลวิชาชีพในการฝึกปฎิบัติทางคลินิก สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการเสนอแนะเพิ่มการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างนักศึกษาพยาบาลและพยาบาลวิชาชีพเพื่อให้บรรลุเ้ป้าหมายของการฝึกภาคปฎิบัติในคลินิกCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23152 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354595 WY100 จ249 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available