From this page you can:
Home |
Class number details
WP480 ย662 2551
Library items with class number WP480 ย662 2551
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของโปรแกรมการใช้ข้อมูลและสนับสนุนทางโทรศัพท์ต่ออัตราการมาตรวจตามนัดในสตรีที่มีเซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติ / ยุพาพร หอมสมบัติ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ผลของโปรแกรมการใช้ข้อมูลและสนับสนุนทางโทรศัพท์ต่ออัตราการมาตรวจตามนัดในสตรีที่มีเซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติ Original title : The effect of using infirmation and telephone support program on follow - up compliance rate among women with abnormal cervical cytology Material Type: printed text Authors: ยุพาพร หอมสมบัติ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลผู้ใหญ่]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]เยื่อบุมดลูกKeywords: เซลล์เยื่อบุปากมดลูก
ความผิดปกติ.Class number: WP480 ย662 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอัตราการมาตรวจตามนัดในสตรีที่มีเซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมีเซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติ จำนวน 40 ราย ทำการสุ่มวันที่มารับบริการได้สตรีที่มารับการตรวจคัดกรองในวันคู่เป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 20 ราย และสตรีที่มารับการตรวจคัดกรองในวันคี่เป็นกลุ่มควบคุม จำนวน 20 ราย และจับคู่ให้มีความเท่าเทียมกันในเรื่องระดับการศึกษาและประสบการณ์การมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมโดยใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของ Becker and Maiman (1975) ประกอบด้วย 1) สื่อการสอนวีดีทัศน์เรื่อง มะเร็งปากมดลูก 2) คู่มือผู้ป่วยที่มีเซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติ 3) คู่มือการสนับสนุนทางโทรศัพท์ และ และ 5) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบบันทึกการมาตรวจตามนัด กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการใช้ข้อมูลและสนับสนุนทางโทรศัพท์จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ในวันที่สตรีได้รับจดหมายแจ้งผล ครั้งที่2 ก่อนถึงวันนัด 1 วัน ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ Fisher’s Exact Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ อัตราการมาตรวจตามนัดของสตรีในกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการใช้ข้อมูลและสนับสนุนทางโทรศัพท์สูงกว่าอัตราการมาตรวจตามนัดของสตรีกลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (95% และ 65%, p< .05) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23207 ผลของโปรแกรมการใช้ข้อมูลและสนับสนุนทางโทรศัพท์ต่ออัตราการมาตรวจตามนัดในสตรีที่มีเซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติ = The effect of using infirmation and telephone support program on follow - up compliance rate among women with abnormal cervical cytology [printed text] / ยุพาพร หอมสมบัติ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลผู้ใหญ่]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]เยื่อบุมดลูกKeywords: เซลล์เยื่อบุปากมดลูก
ความผิดปกติ.Class number: WP480 ย662 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอัตราการมาตรวจตามนัดในสตรีที่มีเซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นสตรีที่มารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมีเซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติ จำนวน 40 ราย ทำการสุ่มวันที่มารับบริการได้สตรีที่มารับการตรวจคัดกรองในวันคู่เป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 20 ราย และสตรีที่มารับการตรวจคัดกรองในวันคี่เป็นกลุ่มควบคุม จำนวน 20 ราย และจับคู่ให้มีความเท่าเทียมกันในเรื่องระดับการศึกษาและประสบการณ์การมาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยสร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมโดยใช้แนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพของ Becker and Maiman (1975) ประกอบด้วย 1) สื่อการสอนวีดีทัศน์เรื่อง มะเร็งปากมดลูก 2) คู่มือผู้ป่วยที่มีเซลล์เยื่อบุปากมดลูกผิดปกติ 3) คู่มือการสนับสนุนทางโทรศัพท์ และ และ 5) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบบันทึกการมาตรวจตามนัด กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการใช้ข้อมูลและสนับสนุนทางโทรศัพท์จำนวน 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 ในวันที่สตรีได้รับจดหมายแจ้งผล ครั้งที่2 ก่อนถึงวันนัด 1 วัน ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ Fisher’s Exact Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ อัตราการมาตรวจตามนัดของสตรีในกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการใช้ข้อมูลและสนับสนุนทางโทรศัพท์สูงกว่าอัตราการมาตรวจตามนัดของสตรีกลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (95% และ 65%, p< .05) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23207 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354769 WP480 ย662 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available