From this page you can:
Home |
Class number details
WY159 ส864 2551
Library items with class number WY159 ส864 2551
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ / สุพัตรา ทาอ้อ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ Original title : Effects of evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia on length of phototherapy and professional nurses' job satisfaction Material Type: printed text Authors: สุพัตรา ทาอ้อ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 154 แผ่น Layout: ภาพประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Newborn infants -- Diseases
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแล
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- โรค
[LCSH]พยาบาลกับผู้ป่วยKeywords: ทารกแรกเกิด.
พยาบาลวิชาชีพ.
การดูแล.Class number: WY159 ส864 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบจำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อน และหลังการใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกจำนวนวันส่องไฟ และแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจหาความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.จำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 37.10 ชั่วโมง) น้อยกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 45.24 ชั่วโมง) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2.คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 3.53) สูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 4.22) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23196 ผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ = Effects of evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia on length of phototherapy and professional nurses' job satisfaction [printed text] / สุพัตรา ทาอ้อ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 154 แผ่น : ภาพประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Newborn infants -- Diseases
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแล
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- โรค
[LCSH]พยาบาลกับผู้ป่วยKeywords: ทารกแรกเกิด.
พยาบาลวิชาชีพ.
การดูแล.Class number: WY159 ส864 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบจำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อน และหลังการใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกจำนวนวันส่องไฟ และแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจหาความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.จำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 37.10 ชั่วโมง) น้อยกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 45.24 ชั่วโมง) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2.คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 3.53) สูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 4.22) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23196 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355089 WY159 ส864 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available