From this page you can:
Home |
Class number details
WM172 ผ512 2548
Library items with class number WM172 ผ512 2548
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesประสบการณ์การจัดการความเครียดจากการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย / ผการัตน์ สุภากรรณ์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ประสบการณ์การจัดการความเครียดจากการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย Original title : Experience of work stress management of head nurses Material Type: printed text Authors: ผการัตน์ สุภากรรณ์, (2520-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ญ, 119 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-143-260-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเครียดจากการทำงาน
[LCSH]บุคลากรทางการแพทย์ -- ไทย -- ความเครียดจากการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ไทย -- ความเครียดจากการทำงาน :
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: ความเครียด.
พยาบาล.
บุคลากรทางการแพทย์.Class number: WM172 ผ512 2548 Abstract: การศึกษาเิชิงปรากฎการณ์วิทยานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การจัดการความเครียดจาการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยที่ปฎิบัติงานในหน่วยงานอายุรกรรมและหน่วยงานวิกฤต ดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยอย่างน้อย 3 ปีีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi
ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าผู้ฝ่ายให้ความหมายการจัดการความเครีัยดจากการทำงาน คือ การควบคุมความเครียดที่เกิดขึ้นได้ และการทำใจ ส่วนประสบการณ์การจัดการความเครียดจาการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบ 6 ประเด็น คือ ประเด็นแรก การปรับตัวเข้ากับงานที่ทำ โดยการวางแผนการทำงานแต่ละวัน การพยายามศึกษาเรียนรู้งาน การทำงานด้วยใจรักและสนุกับงาน ประเด็นที่ 2 การปรึกษากับครอบครัว และผู้ร่วมมงาน ประเด็นที่ 3 การใช้หลักธรรมะลดความเครียด เพื่อให้มีการทำงานอย่างมีสติ และช่วยให้รู้จักปล่อยวาง ประเด็นที่ 4 การทำงานอดิเรกเพื่อผ่อนคลายความเครียด ประเด็นที่ 5 การแก้ไขปัญหาจากประสบการณ์ที่สั่งสมมา โดยการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ประเด็นสุดท้าย ต้องการแรงสนับสนุนเชิงบวก นอกจากนี้การศึกษายังค้นพบสาเหตุที่ก่อให้เกิดความเครียด ได้แก่ การได้ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยการย้ายมาจากหน่วยงานอื่น และการขึ้นมาจากหน่วยงานที่ปฎิบัติอยู่เดิม ลักษณะงานที่ทำให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดความเครียดประกอบไปด้วย ภาระงานมากทำไม่ทันตามเวลา งานที่ต้องดำเนินการด่วน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23138 ประสบการณ์การจัดการความเครียดจากการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Experience of work stress management of head nurses [printed text] / ผการัตน์ สุภากรรณ์, (2520-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ญ, 119 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-143-260-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเครียดจากการทำงาน
[LCSH]บุคลากรทางการแพทย์ -- ไทย -- ความเครียดจากการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ไทย -- ความเครียดจากการทำงาน :
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: ความเครียด.
พยาบาล.
บุคลากรทางการแพทย์.Class number: WM172 ผ512 2548 Abstract: การศึกษาเิชิงปรากฎการณ์วิทยานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การจัดการความเครียดจาการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยที่ปฎิบัติงานในหน่วยงานอายุรกรรมและหน่วยงานวิกฤต ดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยอย่างน้อย 3 ปีีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi
ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าผู้ฝ่ายให้ความหมายการจัดการความเครีัยดจากการทำงาน คือ การควบคุมความเครียดที่เกิดขึ้นได้ และการทำใจ ส่วนประสบการณ์การจัดการความเครียดจาการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบ 6 ประเด็น คือ ประเด็นแรก การปรับตัวเข้ากับงานที่ทำ โดยการวางแผนการทำงานแต่ละวัน การพยายามศึกษาเรียนรู้งาน การทำงานด้วยใจรักและสนุกับงาน ประเด็นที่ 2 การปรึกษากับครอบครัว และผู้ร่วมมงาน ประเด็นที่ 3 การใช้หลักธรรมะลดความเครียด เพื่อให้มีการทำงานอย่างมีสติ และช่วยให้รู้จักปล่อยวาง ประเด็นที่ 4 การทำงานอดิเรกเพื่อผ่อนคลายความเครียด ประเด็นที่ 5 การแก้ไขปัญหาจากประสบการณ์ที่สั่งสมมา โดยการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ประเด็นสุดท้าย ต้องการแรงสนับสนุนเชิงบวก นอกจากนี้การศึกษายังค้นพบสาเหตุที่ก่อให้เกิดความเครียด ได้แก่ การได้ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยการย้ายมาจากหน่วยงานอื่น และการขึ้นมาจากหน่วยงานที่ปฎิบัติอยู่เดิม ลักษณะงานที่ทำให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดความเครียดประกอบไปด้วย ภาระงานมากทำไม่ทันตามเวลา งานที่ต้องดำเนินการด่วน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23138 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354447 WM172 ผ512 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available