From this page you can:
Home |
Class number details
WY100 ช279 2545
Library items with class number WY100 ช279 2545
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง / ชวไล ชุ่มคำ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง : ของพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเลิดสิน Original title : The effect of risk prevention training program on risk management ability of professional nurses a case study of Lerdsin hospital Material Type: printed text Authors: ชวไล ชุ่มคำ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ญ, 103 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-850-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลเลิดสินKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ช279 2545 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบการทดลองเบื้องต้น ศึกษาในกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเลิดสิน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอายุรกรรมชายและอายุรกรรมหญิงโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแผนการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง แนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยและแบบตรวจเยี่ยมการปฏิบัติตามแนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบอัตนัยประยุกต์ (เอ็ม อี คิว) วัดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอรนบาคเท่ากับ 0.746 ค่าดัชนีความยากของแบบสอบเท่ากับ 0.43 ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยอายุรกรรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23123 ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง = The effect of risk prevention training program on risk management ability of professional nurses a case study of Lerdsin hospital : ของพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเลิดสิน [printed text] / ชวไล ชุ่มคำ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ญ, 103 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-850-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลเลิดสินKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ช279 2545 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบการทดลองเบื้องต้น ศึกษาในกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเลิดสิน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอายุรกรรมชายและอายุรกรรมหญิงโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแผนการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง แนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยและแบบตรวจเยี่ยมการปฏิบัติตามแนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบอัตนัยประยุกต์ (เอ็ม อี คิว) วัดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอรนบาคเท่ากับ 0.746 ค่าดัชนีความยากของแบบสอบเท่ากับ 0.43 ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยอายุรกรรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23123 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354512 WY100 ช279 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available