From this page you can:
Home |
Class number details
RA776.9 ป527 2543
Library items with class number RA776.9 ป527 2543
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบัน / ปาริชาติ สุขสวัสดิพร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบัน : กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between personal factors health values and institutional environment : with health promoting behaviors of nursing students in educational nursing institution Bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: ปาริชาติ สุขสวัสดิพร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ฎ, 157 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-131-045-5 Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การส่งเสริมสุขภาพ
[LCSH]ความเชื่อด้านสุขภาพ
[LCSH]พฤติกรรมสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: การส่งเสริมสุขภาพ.
วิทยานิพนธ์.
สุขภาพ.Class number: RA776.9 ป527 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพ และสภาพแวดล้อมในสถาบัน กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร และศึกษาปัจจัยที่ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2543 ในชั้นปีที่ 2, 3 และ 4 จำนวน 394 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามค่านิยมทางสุขภาพ แบบสอบถามสภาพแวดล้อมในสถาบัน และแบบสอบถามพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้ .83, .88 และ .80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับดี 2. ค่านิยมทางสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับสูง และสภาพแวดล้อมในสถาบันอยู่ในระดับดี 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ภูมิลำเนา มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ระดับชั้นปีและรายรับไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล 4. ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบันมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ปัจจัยที่ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ (1) ค่านิยมทางสุขภาพด้านอาหารและการบริโภค (2) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการพัฒนาด้านจิตใจ (3) สภาพแวดล้อมในแหล่งฝึกปฏิบัติด้านจิตสังคม (4) ภูมิลำเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (5) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการรักษาความสะอาด (6) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ และ (7) ภูมิลำเนาภาคตะวันออก โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 48.1 (R2 = .481) ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล = .299 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านอาหารและการบริโภค) + .188 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการพัฒนาด้านจิตใจ) + .196 (สภาพแวดล้อมในแหล่งฝึกปฏิบัติด้านจิตสังคม) + .176 (ภูมิลำเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) + .175 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการรักษาความสะอาด) + .122 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ) + .080 (ภูมิลำเนาภาคตะวันออก) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23110 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบัน = Relationships between personal factors health values and institutional environment : with health promoting behaviors of nursing students in educational nursing institution Bangkok metropolis : กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร [printed text] / ปาริชาติ สุขสวัสดิพร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ฎ, 157 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-131-045-5 : บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การส่งเสริมสุขภาพ
[LCSH]ความเชื่อด้านสุขภาพ
[LCSH]พฤติกรรมสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: การส่งเสริมสุขภาพ.
วิทยานิพนธ์.
สุขภาพ.Class number: RA776.9 ป527 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพ และสภาพแวดล้อมในสถาบัน กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร และศึกษาปัจจัยที่ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2543 ในชั้นปีที่ 2, 3 และ 4 จำนวน 394 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามค่านิยมทางสุขภาพ แบบสอบถามสภาพแวดล้อมในสถาบัน และแบบสอบถามพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้ .83, .88 และ .80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับดี 2. ค่านิยมทางสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับสูง และสภาพแวดล้อมในสถาบันอยู่ในระดับดี 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ภูมิลำเนา มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ระดับชั้นปีและรายรับไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล 4. ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบันมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ปัจจัยที่ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ (1) ค่านิยมทางสุขภาพด้านอาหารและการบริโภค (2) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการพัฒนาด้านจิตใจ (3) สภาพแวดล้อมในแหล่งฝึกปฏิบัติด้านจิตสังคม (4) ภูมิลำเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (5) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการรักษาความสะอาด (6) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ และ (7) ภูมิลำเนาภาคตะวันออก โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 48.1 (R2 = .481) ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล = .299 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านอาหารและการบริโภค) + .188 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการพัฒนาด้านจิตใจ) + .196 (สภาพแวดล้อมในแหล่งฝึกปฏิบัติด้านจิตสังคม) + .176 (ภูมิลำเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) + .175 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการรักษาความสะอาด) + .122 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ) + .080 (ภูมิลำเนาภาคตะวันออก) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23110 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354355 RA776.9 ป527 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available